မျက်လုံး ကျန်းမာရေး : #สายตาสั้น

Sort
Dry eyes
Dry eyes Tears play a crucial role in keeping our eyes moist, ensuring clear vision by letting light effectively pass through the eye's lens, and supplying oxygen to nourish the eye. They also help fend off infections and keep foreign substances at bay.   Now, when it comes to dry eyes, it's a pretty common issue that can stem from abnormal tear production or tears evaporating too quickly. This can lead to discomfort, irritation, that feeling like there's something foreign in your eye, redness, pain, blurry vision that gets better with blinking, or even feeling like your eyes are tired and heavy. What causes dry eyes can vary—getting older, being a woman (yeah, we're more prone to it), certain allergy medications, spending loads of time on screens, being in places with dust and smoke, gusty winds, and bright lights, they can all have a hand in it.   But hey, the good news is there are ways to tackle dry eyes:   Keep away from things that can make it worse, like strong winds and dust, by popping on some sunglasses and protecting those peepers. Remember to take breaks or blink more often, especially when you're glued to screens for a while. You've got these cool eye drops called artificial tears. There's a type for daytime (more watery) and nighttime (a bit thicker). Which one to use depends on how serious your dry eye situation is. Sometimes your doc might suggest special eye drops that encourage your eyes to make more tears. Give your eyes a treat with warm, clean cloths over your closed eyelids to help them feel better. If the dry eye struggle is real and isn't improving, it's wise to chat with an eye doctor.   All in all, dry eyes can be a bother, but there are solutions out there. It's important to take good care of your eyes, especially when it's all dry outside. If you suspect you've got dry eyes, having a chat with an eye care expert is a smart move.      
Read More
Laser Vision
ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน สายตาพร่ามัวเมื่ออยู่ในที่มืดหรือตอนกลางคืน
เคยเป็นกันหรือไม่ที่รู้สึกว่าสายตาของเราสั้นแค่เฉพาะตอนกลางคืนหรือตอนอยู่ในที่มืด ๆ อยากจะบอกว่าอาการเหล่านี้มีอยู่จริง ซึ่งเป็นอาการของภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน (Night Myopia) อาการเหล่านี้เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงอะไร มีความอันตรายหรือไม่ Laser Vision จะช่วยอธิบายเคลียร์ชัดให้คุณเอง   ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน (Night Myopia) คืออะไร? ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน คืออาการที่ดวงตามองเห็นวัตถุในระยะกลางและระยะไกลได้ไม่ชัดเจนในช่วงเวลากลางคืนหรือในสภาวะที่มีแสงสว่างน้อย อาจมองเห็นแสงไฟในระยะไกลเป็นแสงฟุ้ง ทำให้ต้องฝืนเพ่งตามองเป็นพิเศษ เพื่อให้ภาพมองเห็นชัดขึ้น จนทำให้ตาอ่อนล้าได้ง่ายเร็วขึ้น ซึ่งภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนจะกระทบกับบุคคลที่ชื่นชอบการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในเวลากลางคืน ไม่ว่าจะเป็นการขับขี่รถยนต์ หรือการทำงานในช่วงเวลากลางคืน หลายคนอาจจะคิดว่าภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืนอาจมีอาการร้ายแรงหรือต้องรับการรักษาด้วยวิธีพิเศษ แตกต่างจากการรักษาอาการสายตาสั้นทั่วไป แต่แท้จริงแล้ว เชื่อไหมว่าอาการสายตาสั้นตอนกลางคืน สายตาพร่าเมื่ออยู่ในที่มืด เป็นเพียงสัญญาณบ่งบอกถึงภาวะสายตาสั้นตามปกติทั่วไป ซึ่งท่านสามารถรักษาได้ง่าย ๆ ด้วยการสวมใส่แว่นสายตาหรือการผ่าตัดทำเลสิกที่เหมาะสมเท่านั้น   ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน เกิดขึ้นได้อย่างไร?   ●       การขยายของรูม่านตา ในภาวะที่แสงสว่างมีน้อย รูม่านตาของคนเราจะทำการขยายมากขึ้นเป็นอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มปริมาณของแสงเข้าสู่ดวงตาให้เห็นภาพชัดขึ้น แต่การขยายของรูม่านตาเช่นนี้กลับมีข้อเสียเช่นเดียวกัน โดยมันจะส่งผลกับสิ่งที่เรียกว่า Spherical aberration หรือก็คือการมองเห็นภาพเบลอมากยิ่งขึ้นเมื่อรูม่านตาของเราขยาย จึงไม่แปลกที่ใครหลายคนอาจจะเห็นภาพเบลอในช่วงเวลากลางคืน ●       Spherical aberration ภาพเบลอที่เกิดจากรูม่านตาขยาย มีสาเหตุมาจากการที่ผลของแสงเดินทางผ่านความโค้งของกระจกตาในขณะที่รูม่านตาเปิดกว้างขยายขึ้น ทำให้แสงมีการหักเหห่างจากจอรับภาพมากกว่าปกติ ยิ่งหากมากเท่าไร สมองของคนเราก็จะได้รับภาพเบลอมากขึ้นตามไปด้วย ●       เซลล์รับภาพมีความไวต่อแสงที่มีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ขณะที่เซลล์แสงรับภาพในคนเราจะมีความต่อแสงที่ 555 นาโนเมตร และเมื่อไม่มีแสงเซลล์รับภาพจะมีความไวต่อแสงที่ 510 นาโนเมตร ซึ่งปริมาณของแสงที่แตกต่างกันนี้ สามารถทำให้ภาพที่เกิดขึ้นในสมองคนเราเบลอขึ้นได้ ●       Chromatic aberration โดยปกติแล้วเมื่อแสงเดินทางผ่านกระจกตา แสงจะแยกออกเรียงตามลำดับความยาวของคลื่นโดยเรียงการตกโฟกัสก่อนไปหลัง และจากคลื่นสั้นไปคลื่นยาว แต่ในตอนกลางคืน เซลล์รับภาพจะเปลี่ยนจากการรับคลื่นแสงสีเหลืองในตอนกลางวัน มาเป็นการรับคลื่นแสงสีน้ำเงินที่มีความถี่สูงขึ้นในตอนกลางคืนแทน ทำให้คนเราสามารถเกิดสายตาสั้นได้ประมาณ -0.50D เพราะแสงสีน้ำเงินจะตกก่อนจอรับภาพ   ภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน ไม่เป็นอะไรแล้วจริงหรือ? คนที่มีภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน หรือแม้แต่คนสายตาสั้นมาก บางรายอาจมีการเสื่อมของ Rod ที่ทำงานตอนกลางคืนร่วมด้วย ส่งผลให้เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง โดยเฉพาะวิตามิน A ซึ่งเป็นวิตามินที่ช่วยในการมองเห็น อาการรุนแรงขึ้นจนกลายเป็นโรคตาบอดกลางคืนได้ แม้ว่าจะมีอาการไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ก็อาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนกัน เช่น อาจทำให้การขับรถในช่วงเวลากลางคืนลำบากและเสี่ยงอันตรายมากกว่าเดิม รวมถึงการขึ้นลงบันไดในพื้นที่มืด เป็นต้น   คืนความคมชัดยาม่ํคาคืน ด้วยการรักษาที่ทันสมัยจาก Laser Vision ทุกปัญหาด้านสายตาสามารถรักษาให้ดีขึ้นด้วย เพียงคุณปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการเข้ารับการรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสมกับอาการของแต่ละบุคคล โดย Laser Vision International LASIK Center เป็นศูนย์รักษาสายตาอันดับต้น ๆ ของเมืองไทย ด้วยประสบการณ์ยาวนานกว่า 25 ปี พร้อมด้วยทีมแพทย์เฉพาะด้านและเครื่องมืออันทันสมัยได้มาตรฐานสากล สามารถดำเนินการรักษาภาวะสายตาสั้นตอนกลางคืน และอาการตาบอดกลางคืนได้ หรือในเคสที่รุนแรงมีสาเหตุจากต้อกระจกตา ทางเราก็มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสามารถผ่าตัดได้อย่างปลอดภัย ปรึกษาเพิ่มเติม โทร 02-511-2111
Laser Vision
Can Reading Vision (Presbyopia) Be Corrected After LASIK for Nearsightedness (Myopia)?
Can Reading Vision (Presbyopia) Be Corrected After LASIK for Nearsightedness (Myopia)? Presbyopia is a common vision condition that typically becomes more noticeable with age. It results from changes in the eye's lens and ciliary muscles, making it challenging to focus on close-up objects.   For individuals who have previously undergone LASIK to correct short-sightedness (myopia) and later develop Presbyopia, there are options for correction.   NV LASIK for Presbyopia: NV LASIK is a surgical procedure that can enhance vision for both near and distant objects. It can be an effective solution for individuals experiencing Presbyopia after LASIK for myopia. The procedure can provide clear vision in one eye for near vision and the other for distance vision. This approach addresses the change in vision due to aging, which affects the eye's ability to focus on nearby objects. The duration of the effect can vary from 3 to 5 years, depending on individual eye conditions. Refractive Lens Exchange (RLE) for Presbyopia: RLE is another option to correct Presbyopia after LASIK for myopia. This surgical procedure involves removing the eye's natural lens and replacing it with an artificial lens. By replacing the lens, the eye's focusing power can be adjusted to correct hyperopia.   It's important to note that there can be misconceptions about presbyopia and how it interacts with other refractive errors. For example, some individuals believe that myopia will revert to normal vision as they age.  In summary, it is possible to treat presbyopia after LASIK for myopia using surgical procedures like NV LASIK or RLE, depending on the individual's specific condition and needs. These treatments can help individuals achieve clear vision for both near and distant objects.   ** In reality, presbyopia is a separate condition that results from changes in the eye, particularly the weakening of the eye's focusing muscles. While it might improve near vision slightly, it doesn't restore normal vision.   **For individuals who have presbyopia alongside uncorrected short-sightedness, this can lead to difficulties with both near and distant vision, especially as they reach their 40s. In such cases, it's essential to consult with an eye specialist to explore corrective options.
ဆေးရုံတည်နေရာ
Laser Vision International LASIK Center

10/989 Soi Prasertmanukij 33 Nuanchan Buengkum District Bangkok 10230